sábado, 31 de diciembre de 2011

Otro blog interesante, en el que se sortea un ejemplar de Curdy y el Vampiro de Gothland: NO TE LO PIERDAS

Concurso Porque sí, porque me da la gana:)

Bueno, pues ya puestos ha hacer concursos vamos con el tercero, y es que ya se acerca el aniversario del blog, aunque como no fue un blog literario hasta abril, no lo celebraré hasta entonces:)

El premio es un ejemplar de Curdy y el vampiro de Gothland

Uno de nuestros blogs favoritos ha pulicado una reseña sobre el segundo tomo de la saga: ¡¡MUY BUENO!!

Una narración magnífica con suntuosos matices que nos acercan no solo al protagonista, sino que nos aproximan a la historia desde varios ángulos para saber que es lo que pasa en cada momento, avanzando y vinculándonos a los personajes compartiendo sus vivencias, sus pensamientos, sus sentimientos, todo esto potenciado por un narrador que nos describe a los personajes, los lugares, las circunstancias sobrecogedoras, las criaturas aterradoras, los personajes siniestros, un mundo de magia en plena lucha contra seres que quieren subyugarlos, un mundo de valientes, inteligentes, audaces y benévolos contra otro mundo de despiadados, siniestros, crueles y sanguinarios.

lunes, 26 de diciembre de 2011

Diario La Verdad: "Alicante es una ciudad tranquila"

No se sabe si, algún día, sus documentales se podrán ver en la ciudad que le vió nacer. Sus libros sí se pueden comprar.

Aunque está afincado en la capital de la intelectualidad norteamericana ha manifestado a algunos medios que «Alicante es una ciudad tranquila» y parece que le gusta.

Lo que ocurre con todos los genios que se van es que desarrollan sus proyectos donde encuentran la proyección que necesitan.
Artur Balder así lo hizo y, los resultados están a la vista, sus publicaciones, sus introspecciones en el mundo del cine y, quizás en el futuro, la música, su asignatura pendiente.

Algún día, como tantos otros, le veremos aparecer por aquí. Entonces tendremos que tener la generosidad de comprender que, si se marchó, no solo fue por él, a nosotros también nos llena saber que hay alicantinos por el mundo que mantienen muy alto el pabellón. Así es y así será.

Little Spain โลกเล็กในแมนฮัตตัน // Report at the The Bankgkok News, Thailand, about Artur Balder first documentary film

เวลาดูหนังอเมริกัน ส่วนใหญ่เรามักเห็นเรื่องราวของชาวยุโรปอพยพ บ้างเป็นไอริช บ้างเป็นดัทช์ เยอรมัน และบ้างก็เป็นอิตาเลียน


แต่น้อยคราวนักที่จะมีเรื่องราวของ "สแปเนียร์ด" หรือชาวสเปนให้ได้รับรู้กัน

ทั้งที่ ภาษาสเปนก็ใช้กันอย่างแพร่หลาย เป็นอันดับสองรองจากภาษาอังกฤษด้วยซ้ำ

แต่อย่างที่ทราบ มันเป็นภาษาที่ติดตัวมาจากพลเมืองฮิสปานิคที่มีรากฐานเดิมมาจากประเทศทางแถบ ลาตินอเมริกา อย่าง เม็กซิโก, คิวบา, เปอร์โตริโก ฯ เสียมากกว่า

ความจริงมีอยู่ว่า บนเกาะแมนฮัตตัน ใจกลางมหานครนิวยอร์ก ที่มีผู้คนทุกเผ่าพันธุ์จากทั่วทุกสารทิศอาศัยอยู่ ไม่เพียงมีชุมชนชาวอิตาเลียนที่เรียกกันว่า "ลิตเติล อิตาลี" หรือชุมชนชาวจีนล้งเล้งอย่าง "ไชน่า ทาวน์" เท่านั้น แต่ยังมี "ลิตเติล สเปน" หรือที่คนในท้องถิ่นพึงใจจะเรียกอย่างถนัดปากว่า "กาเยีย กาโตรเซ" (Calle Catorce) รวมอยู่ด้วย

แต่เอาเข้าจริงๆ กลับไม่เป็นที่รู้จักรับรู้กันเท่าที่ควร

เมื่อเร็วๆ นี้ อาร์เทอร์ บาลเดอร์ (Artur Balder) ซึ่งเป็นทั้งนักเขียนและผู้กำกับหนังชาวสเปน เพิ่งนำสารคดีในชื่อ "Little Spain" ออกฉาย โดยเขาเดินทางเข้าไปเจาะลึกยังชุมชนชาวสเปนที่ลงหลักปักฐานในนครนิวยอร์กมา ตั้งแต่คริสศตวรรษที่ 19 และมีการตั้งบ้านเรือนธุรกิจร้านค้าอยู่ใกล้ชิดกัน ในย่านถนนสายที่ 14 ช่วงระหว่างเซเวนธ์แอฟเวอนู กับ เอชต์ธแอฟเวอนู ในพื้นที่ที่เรียกกันว่า "ลาวเออร์ แมนฮัตตัน" นั่นเอง

อาร์เทอร์ สืบสาวเรื่องราวไปยังชุมชนชาวสเปน (Spanish Benevolent Society) ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1868 และยังดำรงสภาพของความเป็นชมรมเอาไว้ตราบจนปัจจุบัน

ณ ที่แห่งนี้ ที่ชาวสเปนรุ่นก่อนเรียกอย่างภาคภูมิใจว่า "ลา นาซิอองนาล คลับ" (La Nacional club) เป็นสถานที่เก็บหลักฐานความทรงจำเก่าแก่เอาไว้มากมาย และถือเป็นวัตถุดิบชั้นดีสำหรับการบอกเล่าถึงเรื่องราวความเป็นไปของชาวสเปน ในสังคมสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่การอพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพครั้งใหญ่ในปี 1898 หลังจากอาณาจักรสเปนสูญเสียคิวบาไป จนถึงยุคทองอันรุ่งเรืองของชาวสเปนในย่านนี้ ภายหลังยุคสงครามกลางเมืองสเปน (1936-1939) กระทั่งถึงช่วงเวลาแห่งความตกต่ำในทศวรรษ 1980-90s

หนังยังบอกเล่าถึงความเข้มแข็งของชุมชน ผ่านวันหยุดของชาวสเปน หรือที่รู้จักกันในชื่อ St. James Day (Santiago Apostol) ที่ดำเนินมาจนถึงทศวรรษ 90s ก่อนจะสิ้นสุดลง อย่างไรก็ดี บนถนนสายที่ 14 ยังมีกลิ่นอายสแปนิชหลงเหลืออยู่พอสมควร แม้จะมี "คลื่นแทรก" จากวัฒนธรรมอื่นปรากฏเข้ามาตามวิถีทางของโลกสมัยใหม่

กลิ่นอายเก่าๆ คงไว้ให้เห็น ตั้งแต่โบสถ์โรมันคาทอลิก Our Lady of Guadalupe at St. Bernard ที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 19 หรือจะเป็นร้านอาหารสเปนขึ้นชื่อ อย่าง El Coru?a, La Bilbaina , Cafe Madrid ขณะที่ร้านอาหารเก่าแก่ El Faro ที่เปิดบริการมาตั้งแต่ปี 1927 ได้ย้ายไปอยู่ในย่านกรีนิชแล้ว

นอกเหนือจากนั้น ยังมีร้านหนังสือภาษาสเปน และร้านเสื้อผ้าอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งในจำนวนนี้ รวมถึงร้านเครื่องแต่งกายชื่อดังอย่าง The Iberia

ไม่เพียงหนังสารคดีเรื่องนี้ ที่เพิ่งสร้างขึ้นในปี 2010-11 เพื่อเผยให้โลกเห็นมุมเล็กๆ บนเกาะแมนฮัตตัน ย้อนหลังไปเกือบ 50 ปีก่อน มีนักแซ็กโซโฟนคนหนึ่งชื่อ คลิฟฟอร์ด จอร์แดน แต่งเพลงชื่อ Little Spain บนจังหวะวอลทซ์ บรรจุไว้ในอัลบั้ม Take Twelve ของนักทรัมเป็ต ลี มอร์แกน ที่ออกวางขายในปี 1962

ทุกวันนี้ Take Twelve ได้รับการยกย่องให้เป็นอัลบั้มระดับยอดเยี่ยมของนักทรัมเป็ตผู้มีสำเนียงการ บรรเลงจัดจ้านร้อนแรงคนนี้ โดยได้เพื่อนนักดนตรีอีก 4 คนสมทบในการบรรเลง คือ คลิฟฟอร์ด - แซ็กโซโฟน, แบร์รี แฮร์ริส - เปียโน, บ๊อบ แคนชอว์ - เบส และ หลุยส์ เฮย์ส - กลอง มาสานฝันอย่างสมบูรณ์

ไม่มีบันทึกชัดเจนว่า คลิฟฟอร์ด ได้แรงบันดาลใจมาจากไหน แต่เชื่อแน่ว่าด้วยการใช้ชีวิตอยู่ในนิวยอร์ก ซิตี ตัวของนักแต่งเพลงคนนี้น่าจะรู้จักพื้นที่ "ลิตเติล สเปน" อยู่บ้าง และนำประสบการณ์จากการคลุกคลีหรือใช้ชีวิตมาเป็นวัตถุดิบสำหรับการสร้างงาน ดนตรีในที่สุด



Place : Little Spain
Song : Little Spain
Composer : Clifford Jordan
Artists : Lee Morgan , Andrew Hill
Movie : Little Spain
Director : Artur Balder
City : Manhattan , New York City

Gothland.us, book trailer en YouTube

Gothland.us, book trailer en YouTube

Artur Balder, video entrevista para Revistadeletras.net

Artur Balder, video entrevista para Revistadeletras.net

Circo Iberia, a genuine Spanish-American Blogger: "Balder, el león"

(...)

¿Cómo es la vida de un alicantino en Nueva York? ¿Encontraste ya tu Postiguet, tu Castillo de Santa Bárbara o tu avenida Maisonnave?

Se convierte en la vida de un neoyorquino más. Una de las cosas que me gusta de esta ciudad, además de su dureza, es el hecho de que a cambio ofrece auténticas oportunidades. Encontré mi Postiguet en los muelles de Tribeca, desde donde se ve la estatua de la Libertad. Mi castillo de Santa Bárbara es la terraza del Rockefeller Center, y mi Maisonnave es la calle 14 entre las avenidas 6 y 9.




La piedra del monarca ha pasado a ser con los años tu mayor éxito editorial. ¿Por cuántas lenguas va ya?

De momento superviso la traducción al inglés, al francés y al alemán. Después se unirán más, y la promesa es que se llegue a 25 idiomas.

(...)

Circo Iberia, a genuine Spanish-American Blogger: "Balder, el león"

(...)

¿Cómo es la vida de un alicantino en Nueva York? ¿Encontraste ya tu Postiguet, tu Castillo de Santa Bárbara o tu avenida Maisonnave?

Se convierte en la vida de un neoyorquino más. Una de las cosas que me gusta de esta ciudad, además de su dureza, es el hecho de que a cambio ofrece auténticas oportunidades. Encontré mi Postiguet en los muelles de Tribeca, desde donde se ve la estatua de la Libertad. Mi castillo de Santa Bárbara es la terraza del Rockefeller Center, y mi Maisonnave es la calle 14 entre las avenidas 6 y 9.




La piedra del monarca ha pasado a ser con los años tu mayor éxito editorial. ¿Por cuántas lenguas va ya?

De momento superviso la traducción al inglés, al francés y al alemán. Después se unirán más, y la promesa es que se llegue a 25 idiomas.

(...)